วิธีคำนวณน้ำหนักของเหล็กชนิดต่างๆ ดังนี้
1. เหล็กแผ่น คือ เหล็กที่ผ่านกระบวนการรีดร้อนด้วยอุณหภูมิที่สูง จนกลายเป็น เหล็กแผ่นม้วนคุณภาพสูง ส่วนมากมักจะถูกนำมาตัดเป็นขนาดมาตรฐาน เช่น 4×8ฟุต, 5×10ฟุต จะมีสูตรในการคำนวณตามตัวอย่างนี้
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแผ่นขนาด 4×8ฟุต (น้ำหนักของเหล็กแผ่น = ความหนาของเหล็ก(มิลลิเมตร) x 23.33)
- เหล็กหนา 5 มิลลิเมตร x 23.33 = 65 กิโลกรัมต่อแผ่น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแผ่นขนาด 5×10ฟุต (น้ำหนักของเหล็กแผ่น = ความหนาของเหล็ก(มิลลิเมตร) x 5)
- เหล็กหนา 6 มิลลิเมตร x 5 = 219 กิโลกรัมต่อแผ่น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแผ่นขนาด 4×8ฟุต (น้ำหนักของเหล็กแผ่น = ความหนาของเหล็ก(มิลลิเมตร) x 23.33)
2. เหล็กแผ่นเพลท คือ การนำเหล็กแผ่นดำ SS400 คุณภาพดีมาตัดเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมที่ต้องการด้วยเครื่องจักรประเภทต่างๆ เช่น ตัดเลเซอร์เหล็ก ตัดเหล็กด้วยแก๊ส รวมไปถึงการตัดด้วยเครื่อง hydraulic ตามขนาดที่ต้องการ
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลท (น้ำหนักของแผ่นเพลท = ความหนา(มิลลิเมตร) x ความกว้าง(เซ็นติเมตร) x ความยาว(เซ็นติเมตร) x 0.000785)
- แผ่นเพลท ขนาด 5 มิลลิเมตร x 10 เซ็นติเมตร x 20 เซ็นติเมตร => 5 x 10 x 20 x 0.000785 = 0.79 กิโลกรัมต่อแผ่น
- แผ่นเพลท ขนาด 25 มิลลิเมตร x 40 เซ็นติเมตร x 40 เซ็นติเมตร => 25 x 40 x 40 x 0.000785 = 4 กิโลกรัมต่อแผ่น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลท (น้ำหนักของแผ่นเพลท = ความหนา(มิลลิเมตร) x ความกว้าง(เซ็นติเมตร) x ความยาว(เซ็นติเมตร) x 0.000785)
3. เหล็กแผ่นเพลทสามเหลี่ยม คือ แผ่นเพลทเหล็กชนิดหนึ่งที่มีลักษณะรูปทรงสามเหลี่ยม นิยมใช้เพิ่มความแข็งแรงของเสาโดยวิธีการเชื่อมติดกับเพลทเหล็กประเภทต่างๆ
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลทสามเหลี่ยม (น้ำหนักของแผ่นเพลทสามเหลี่ยม = ความหนา(มิลลิเมตร) x ความกว้าง(เซ็นติเมตร) x ความยาว(เซ็นติเมตร) / 2 x 0.000785)
- แผ่นเพลทสามเหลี่ยม ขนาด 6 มิลลิเมตร x 20 เซ็นติเมตร x 40 เซ็นติเมตร => 6 x 20 x 40 /2 x 0.000785 = 88 กิโลกรัมต่อแผ่น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลทสามเหลี่ยม (น้ำหนักของแผ่นเพลทสามเหลี่ยม = ความหนา(มิลลิเมตร) x ความกว้าง(เซ็นติเมตร) x ความยาว(เซ็นติเมตร) / 2 x 0.000785)
4. เหล็กเพลทกลม คือ แผ่นเพลทเหล็กชนิดหนึ่งมีลักษณะรูปทรงกลม เหมาะสำหรับปิดหัวเสา ปิดแป๊ปขนาดต่างๆ รวมไปถึงงานตกแต่งด้วย
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลทกลม (น้ำหนักของแผ่นเพลทกลม = ความหนา(มิลลิเมตร) x รัศมี(เซ็นติเมตร) x รัศมี(เซ็นติเมตร) x 0.00247)
- แผ่นเพลทกลม ขนาด 20 มิลลิเมตร x รัศมี 10 เซ็นติเมตร => 20 x 10 x 10 x 0.00247 = 94กิโลกรัมต่อแผ่น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลทกลม (น้ำหนักของแผ่นเพลทกลม = ความหนา(มิลลิเมตร) x รัศมี(เซ็นติเมตร) x รัศมี(เซ็นติเมตร) x 0.00247)
5. แผ่นเพลทเหล็กวงแหวน คือ การนำเหล็กเพลทกลมมาเจาะรูให้มีรูปทรงลักษณะคล้ายวงแหวน นิยมใช้เป็นแหวนรอง สตัด หรือ โบลท์แบบต่างๆ เช่น เจโบลท์ แอลโบลท์ ยูโบลท์
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลทวงแหวน (น้ำหนักของแผ่นเพลทวงแหวน = ความหนา(มิลลิเมตร) x (เซ็นติเมตร) – (เซ็นติเมตร) x 0.00247)
- เพลทวงแหวน ขนาด 8 มิลลิเมตร x รัศมี 10 เซ็นติเมตร x รูในรัศมี 6 เซ็นติเมตร => 8 x – x 0.00247 = 26กิโลกรัมต่อแผ่น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลทวงแหวน (น้ำหนักของแผ่นเพลทวงแหวน = ความหนา(มิลลิเมตร) x (เซ็นติเมตร) – (เซ็นติเมตร) x 0.00247)
6. เหล็กแบน คือ เหล็กที่มีลักษณะหน้าแคบ หรือเล็ก แต่มีความยาว 6 เมตร เหมาะสำหรับใช้กับงานเชื่อมทำเหล็กดัด งานฝาท่อ
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแบน (น้ำหนักของเหล็กแบน = ความหนา(มิลลิเมตร) x ความกว้าง(มิลลิเมตร) x 0.0471)
- เหล็กแบน ขนาด 6 มิลลิเมตร x กว้าง 50 มิลลิเมตร => 6 x 50 x 0471 = 14.3 กิโลกรัมต่อเส้น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแบน (น้ำหนักของเหล็กแบน = ความหนา(มิลลิเมตร) x ความกว้าง(มิลลิเมตร) x 0.0471)
7. เหล็กพับฉาก คือ การนำแผ่นเหล็กมาตัดพับตามขนาดที่ต้องการ สามารถพับได้ทั้งขนาดเท่ากันทั้งสองด้าน หรือขนาดไม่เท่าก็ได้
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กฉากพับ (น้ำหนักของเหล็กฉากพับ = ความหนา(มิลลิเมตร) x [ความกว้าง1(มิลลิเมตร)+ความกว้าง2(มิลลิเมตร) – 2 x ความหนา(มิลลิเมตร)] x 0.0471)
- เหล็กพับฉาก ขนาด 6 มิลลิเมตร กว้าง1 200 มิลลิเมตร กว้าง2 150มิลลิเมตร => 6 x [(200+100)-2 x 6] x 0471 = 81.3 กิโลกรัมต่อเส้น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กฉากพับ (น้ำหนักของเหล็กฉากพับ = ความหนา(มิลลิเมตร) x [ความกว้าง1(มิลลิเมตร)+ความกว้าง2(มิลลิเมตร) – 2 x ความหนา(มิลลิเมตร)] x 0.0471)
8. เหล็กพับตัวยู คือ การนำเหล็กแผ่นมาพับเป็นรูปทรงคล้ายตัวยู เรียกอีกอย่างว่า เหล็กพับรางน้ำ
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กพับตัวยู (น้ำหนักของเหล็กพับตัวยู = ความหนา(มิลลิเมตร) x [ท้อง(มิลลิเมตร)+ 2 x ปีก(มิลลิเมตร) – 4 x ความหนา(มิลลิเมตร)] x 0.0471)
- แผ่นเหล็กพับตัวยู ขนาด 4 มิลลิเมตร ท้อง 200 มิลลิเมตร ปีก 100มิลลิเมตร => 4 x [(200+2 x 100) – 4 x 4] x 0471 = 72.3 กิโลกรัมต่อเส้น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กพับตัวยู (น้ำหนักของเหล็กพับตัวยู = ความหนา(มิลลิเมตร) x [ท้อง(มิลลิเมตร)+ 2 x ปีก(มิลลิเมตร) – 4 x ความหนา(มิลลิเมตร)] x 0.0471)
9. เหล็กตัวซี คือ เหล็กชนิดหนึ่งที่ถูกนำมาแปรรูปด้วยขั้นตอนการรีดร้อนให้มีลักษณะคล้ายตัว C นิยมใช้ในงานโครงสร้าง งานทำหลังคา
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กตัวซี (น้ำหนักของเหล็กตัวซี = ความหนา(มิลลิเมตร) x [ท้อง(มิลลิเมตร)+ 2 x ปีก1(มิลลิเมตร) + 2 x ปีก2(มิลลิเมตร) – 8 x ความหนา(มิลลิเมตร)] x 0.0471)
- เหล็กตัวซี ขนาด 4 มิลลิเมตร ท้อง 200 มิลลิเมตร ปีก1 100มิลลิเมตร ปีก2 25มิลลิเมตร => 4 x [(200 + 2 x 100 + 2 x 25) – 8 x 4] x 0471 = 78.7 กิโลกรัมต่อเส้น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กตัวซี (น้ำหนักของเหล็กตัวซี = ความหนา(มิลลิเมตร) x [ท้อง(มิลลิเมตร)+ 2 x ปีก1(มิลลิเมตร) + 2 x ปีก2(มิลลิเมตร) – 8 x ความหนา(มิลลิเมตร)] x 0.0471)
10. เหล็กเพลา คือ การนำเหล็กมาผ่านกระบวนการรีดร้อน และรีดเย็น เพื่อให้ได้คุณภาพตามที่ต้องการ จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ เหล็กเพลาดำ ผลิตจากการรีดร้อน ส่วน เหล็กเพลาขาวเกิดจากการนำเหล็กเพลาดำมาผ่านกระบวนการรีดเย็น นิยมใช้สำหรับทำ สตัด เจโบลท์ แอลโบลท์ น๊อต สกรู ต่างๆ
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลา (น้ำหนักของเหล็กเพลา = (มิลลิเมตร) x 006167 x ความยาว(เมตร))
- เหล็กเพลา ขนาด 20 มิลลิเมตร ยาว 700 มิลลิเมตร => x 7 x 0.006167 = 1.72 กิโลกรัมต่อชิ้น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลา (น้ำหนักของเหล็กเพลา = (มิลลิเมตร) x 006167 x ความยาว(เมตร))
11. เหล็กแป๊ปกลม คือ เหล็กรูปพรรณชนิดหนึ่ง ที่ใช้สำหรับงานก่อสร้าง ที่รับน้ำหนักไม่มากนัก
-
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแป๊ปกลม (น้ำหนักของเหล็กแป๊ปกลม = ( (มิลลิเมตร) – (มิลลิเมตร)) x 006167 x ความยาว(เมตร))
- เหล็กแป๊ปกลม ขนาดวงนอก 150 มิลลิเมตร วงใน 30 มิลลิเมตร ยาว 700 มิลลิเมตร => – x 7 x 0.006167 = 93.2 กิโลกรัมต่อเส้น
- สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแป๊ปกลม (น้ำหนักของเหล็กแป๊ปกลม = ( (มิลลิเมตร) – (มิลลิเมตร)) x 006167 x ความยาว(เมตร))
สรุป
เห็นได้ชัดว่า วิธีคำนวณน้ำหนักของเหล็ก นั้นถูกแบ่งออกเป็นหลากหลายประเภทมากมายดังนั้น เราสามารถเรียนรู้ และคำนวณน้ำหนักของเหล็กประเภทต่างๆ ด้วยตนเองผ่านสูตรต่างๆ ตามบทความนี้ เพื่อที่จะให้ท่านสามารถคุยกับวิศวกร หรือช่างรับเหมาได้รู้เรื่อง และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
หากท่านกำลังหาโรงกลึง หรือ ต้องการผลิตชิ้นส่วนสามารถติดต่อได้ที่
line : @mtmsupply หรือโทร 0814228821 K.Maytee 081-823-6895 k.ถวิล