Posted on

วิธีคำนวณน้ำหนักเหล็กแผ่น Plate

โรงกลึง

วิธีคำนวณน้ำหนักของเหล็กชนิดต่างๆ ดังนี้

1. เหล็กแผ่น คือ เหล็กที่ผ่านกระบวนการรีดร้อนด้วยอุณหภูมิที่สูง จนกลายเป็น เหล็กแผ่นม้วนคุณภาพสูง ส่วนมากมักจะถูกนำมาตัดเป็นขนาดมาตรฐาน เช่น 4×8ฟุต, 5×10ฟุต จะมีสูตรในการคำนวณตามตัวอย่างนี้

    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแผ่นขนาด 4×8ฟุต (น้ำหนักของเหล็กแผ่น = ความหนาของเหล็ก(มิลลิเมตร) x 23.33)
      • เหล็กหนา 5 มิลลิเมตร x 23.33 = 65 กิโลกรัมต่อแผ่น
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแผ่นขนาด 5×10ฟุต (น้ำหนักของเหล็กแผ่น = ความหนาของเหล็ก(มิลลิเมตร) x 5)
      • เหล็กหนา 6 มิลลิเมตร x 5 = 219 กิโลกรัมต่อแผ่น

2. เหล็กแผ่นเพลท คือ การนำเหล็กแผ่นดำ SS400 คุณภาพดีมาตัดเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมที่ต้องการด้วยเครื่องจักรประเภทต่างๆ เช่น ตัดเลเซอร์เหล็ก ตัดเหล็กด้วยแก๊ส รวมไปถึงการตัดด้วยเครื่อง hydraulic ตามขนาดที่ต้องการ

คำนวณน้ำหนักเหล็กเพลท
สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กเพลท
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลท (น้ำหนักของแผ่นเพลท = ความหนา(มิลลิเมตร) x ความกว้าง(เซ็นติเมตร) x ความยาว(เซ็นติเมตร) x 0.000785)
      • แผ่นเพลท ขนาด 5 มิลลิเมตร x 10 เซ็นติเมตร x 20 เซ็นติเมตร => 5 x 10 x 20 x 0.000785 = 0.79 กิโลกรัมต่อแผ่น
      • แผ่นเพลท ขนาด 25 มิลลิเมตร x 40 เซ็นติเมตร x 40 เซ็นติเมตร => 25 x 40 x 40 x 0.000785 = 4 กิโลกรัมต่อแผ่น

3. เหล็กแผ่นเพลทสามเหลี่ยม คือ แผ่นเพลทเหล็กชนิดหนึ่งที่มีลักษณะรูปทรงสามเหลี่ยม นิยมใช้เพิ่มความแข็งแรงของเสาโดยวิธีการเชื่อมติดกับเพลทเหล็กประเภทต่างๆ

สูตรคำนวณน้ำเหล็กแผ่นเพลทสามเหลี่ยม
สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กเพลท
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลทสามเหลี่ยม (น้ำหนักของแผ่นเพลทสามเหลี่ยม = ความหนา(มิลลิเมตร) x ความกว้าง(เซ็นติเมตร) x ความยาว(เซ็นติเมตร) / 2 x 0.000785)
      • แผ่นเพลทสามเหลี่ยม ขนาด 6 มิลลิเมตร x 20 เซ็นติเมตร x 40 เซ็นติเมตร => 6 x 20 x 40 /2 x 0.000785 = 88 กิโลกรัมต่อแผ่น

4. เหล็กเพลทกลม คือ แผ่นเพลทเหล็กชนิดหนึ่งมีลักษณะรูปทรงกลม เหมาะสำหรับปิดหัวเสา ปิดแป๊ปขนาดต่างๆ รวมไปถึงงานตกแต่งด้วย

สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กเพลทกลม
สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กเพลทกลม
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลทกลม (น้ำหนักของแผ่นเพลทกลม = ความหนา(มิลลิเมตร) x รัศมี(เซ็นติเมตร) x รัศมี(เซ็นติเมตร) x 0.00247)
      • แผ่นเพลทกลม ขนาด 20 มิลลิเมตร x รัศมี 10 เซ็นติเมตร => 20 x 10 x 10 x 0.00247 = 94กิโลกรัมต่อแผ่น

 

5. แผ่นเพลทเหล็กวงแหวน คือ การนำเหล็กเพลทกลมมาเจาะรูให้มีรูปทรงลักษณะคล้ายวงแหวน นิยมใช้เป็นแหวนรอง สตัด หรือ โบลท์แบบต่างๆ เช่น เจโบลท์ แอลโบลท์ ยูโบลท์

สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กเพลทวงแหวน
สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กเพลทวงแหวน
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลทวงแหวน (น้ำหนักของแผ่นเพลทวงแหวน = ความหนา(มิลลิเมตร) x (เซ็นติเมตร) – (เซ็นติเมตร)  x 0.00247)
      • เพลทวงแหวน ขนาด 8 มิลลิเมตร x รัศมี 10 เซ็นติเมตร x รูในรัศมี 6 เซ็นติเมตร => 8 x  –  x 0.00247 = 26กิโลกรัมต่อแผ่น

6. เหล็กแบน คือ เหล็กที่มีลักษณะหน้าแคบ หรือเล็ก แต่มีความยาว 6 เมตร เหมาะสำหรับใช้กับงานเชื่อมทำเหล็กดัด งานฝาท่อ

สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กแบน
สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กแบน
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแบน (น้ำหนักของเหล็กแบน = ความหนา(มิลลิเมตร) x ความกว้าง(มิลลิเมตร) x 0.0471)
      • เหล็กแบน ขนาด 6 มิลลิเมตร x กว้าง 50 มิลลิเมตร => 6 x 50 x 0471 = 14.3 กิโลกรัมต่อเส้น

7. เหล็กพับฉาก คือ การนำแผ่นเหล็กมาตัดพับตามขนาดที่ต้องการ สามารถพับได้ทั้งขนาดเท่ากันทั้งสองด้าน หรือขนาดไม่เท่าก็ได้

สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กฉาก
สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กฉาก
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กฉากพับ (น้ำหนักของเหล็กฉากพับ = ความหนา(มิลลิเมตร) x [ความกว้าง1(มิลลิเมตร)+ความกว้าง2(มิลลิเมตร) – 2 x ความหนา(มิลลิเมตร)] x 0.0471)
      • เหล็กพับฉาก ขนาด 6 มิลลิเมตร กว้าง1 200 มิลลิเมตร กว้าง2 150มิลลิเมตร => 6 x [(200+100)-2 x 6] x 0471 = 81.3 กิโลกรัมต่อเส้น

8. เหล็กพับตัวยู คือ การนำเหล็กแผ่นมาพับเป็นรูปทรงคล้ายตัวยู เรียกอีกอย่างว่า เหล็กพับรางน้ำ

สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กตัวยู
สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กตัวยู
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กพับตัวยู (น้ำหนักของเหล็กพับตัวยู = ความหนา(มิลลิเมตร) x [ท้อง(มิลลิเมตร)+ 2 x ปีก(มิลลิเมตร) – 4 x ความหนา(มิลลิเมตร)] x 0.0471)
      • แผ่นเหล็กพับตัวยู ขนาด 4 มิลลิเมตร ท้อง 200 มิลลิเมตร ปีก 100มิลลิเมตร => 4 x [(200+2 x 100) – 4 x 4] x 0471 = 72.3 กิโลกรัมต่อเส้น

9. เหล็กตัวซี คือ เหล็กชนิดหนึ่งที่ถูกนำมาแปรรูปด้วยขั้นตอนการรีดร้อนให้มีลักษณะคล้ายตัว C นิยมใช้ในงานโครงสร้าง งานทำหลังคา

สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กตัวซี
สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กตัวซี
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กตัวซี (น้ำหนักของเหล็กตัวซี = ความหนา(มิลลิเมตร) x [ท้อง(มิลลิเมตร)+ 2 x ปีก1(มิลลิเมตร) + 2 x ปีก2(มิลลิเมตร) – 8 x ความหนา(มิลลิเมตร)] x 0.0471)
      • เหล็กตัวซี ขนาด 4 มิลลิเมตร ท้อง 200 มิลลิเมตร ปีก1 100มิลลิเมตร ปีก2 25มิลลิเมตร  => 4 x [(200 + 2 x 100 + 2 x 25) – 8 x 4] x 0471 = 78.7 กิโลกรัมต่อเส้น

10. เหล็กเพลา คือ การนำเหล็กมาผ่านกระบวนการรีดร้อน และรีดเย็น เพื่อให้ได้คุณภาพตามที่ต้องการ จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ เหล็กเพลาดำ ผลิตจากการรีดร้อน ส่วน เหล็กเพลาขาวเกิดจากการนำเหล็กเพลาดำมาผ่านกระบวนการรีดเย็น นิยมใช้สำหรับทำ สตัด เจโบลท์ แอลโบลท์ น๊อต สกรู ต่างๆ

สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กเพลา
สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กเพลา
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กเพลา (น้ำหนักของเหล็กเพลา = (มิลลิเมตร) x 006167 x ความยาว(เมตร))
      • เหล็กเพลา ขนาด 20 มิลลิเมตร ยาว 700 มิลลิเมตร  =>  x 7 x 0.006167 = 1.72 กิโลกรัมต่อชิ้น

11. เหล็กแป๊ปกลม คือ เหล็กรูปพรรณชนิดหนึ่ง ที่ใช้สำหรับงานก่อสร้าง ที่รับน้ำหนักไม่มากนัก

สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กแป๊ป
สูตรคำนวณน้ำหนักเหล็กแป๊ป
    • สูตรคำนวณน้ำหนักของเหล็กแป๊ปกลม (น้ำหนักของเหล็กแป๊ปกลม = ( (มิลลิเมตร) – (มิลลิเมตร)) x 006167 x ความยาว(เมตร))
      • เหล็กแป๊ปกลม ขนาดวงนอก 150 มิลลิเมตร วงใน 30 มิลลิเมตร ยาว 700 มิลลิเมตร  =>  –  x 7 x 0.006167 = 93.2 กิโลกรัมต่อเส้น

สรุป

เห็นได้ชัดว่า วิธีคำนวณน้ำหนักของเหล็ก นั้นถูกแบ่งออกเป็นหลากหลายประเภทมากมายดังนั้น เราสามารถเรียนรู้ และคำนวณน้ำหนักของเหล็กประเภทต่างๆ ด้วยตนเองผ่านสูตรต่างๆ ตามบทความนี้ เพื่อที่จะให้ท่านสามารถคุยกับวิศวกร หรือช่างรับเหมาได้รู้เรื่อง และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

หากท่านกำลังหาโรงกลึง หรือ ต้องการผลิตชิ้นส่วนสามารถติดต่อได้ที่

line : @mtmsupply หรือโทร 0814228821 K.Maytee 081-823-6895 k.ถวิล

 

Posted on

วัสดุที่ทางเราให้บริการ

รับกลึงโลหะ พลาสติกวิศวกรรม ทุกประเภท

บริการงานกลึง CNC งานมิลลิ่ง(Milling) ด้วยเครื่องจักรทันสมัยความแม่นยำสูง ประเภทMachining Center รับผลิตชิ้นงานโลหะ,รับผลิตชิ้นส่วน,ผลิตอะไหล่ เครื่องจักร ,กลึงชิ้นงาน,รับขึ้นรูปเหล็ก ด้วยการเจียร คว้าน ปาด ,ตัดเลเซอร์ ,พับ ดัด ตัด เชื่อมประกบ โลหะ อีกทั้งยังมีบริการกัดเฟือง ,ผลิต/ซ่อมลูกกลิ้งอุตสาหกรรม รับทั้งยังรับงานMass Production และงานต้นแบบ Prototype ,งานซ่อมบำรุงอะไหล่เครื่องจักร , พลาสติกวิศวกรรม ควบคุมงานโดยวิศวกรและทีมงานมืออาชีพ

เราเป็น “โรงงานผลิตชิ้นส่วน” ในสมุทรปราการ ที่ได้คุณภาพมาอย่างยาวนาน

เหล็ก (SS400 S45C S50C SCM440 SKD11)
สแตนเลส (SUS304 SUS316 SUS416)
อลูมิเนียม (AL5052,5053,5083 AL6063 AL6061 AL7073 AL7075)
ทองเหลือง ทองเหลืองลายเสือ ทองแดง
พลาสติกวิศวกรรม PE , PP , Nylon , ยูรีเทน , ซุปเปอร์ลีน

หากท่านกำลังหาโรงกลึง หรือ ต้องการผลิตชิ้นส่วนสามารถติดต่อได้ที่

line : @mtmsupply หรือโทร 0814228821 K.Maytee 081-823-6895 k.ถวิล

 

Posted on

การหล่อโลหะ

โรงกลึง,รับขึ้นรูปโลหะ,รับผลิตชิ้นส่วนตามแบบ,กลึงชิ้นส่วนตามแบบ,กลึงCNC,โรงกลึงCNC,รับผลิตอะไหล่เครื่องจักร,กลึงงาน,กลึงโลหะ,ผลิตชิ้นงานตามแบบ,ผลิตชิ้นส่วนสมุทรปราการ,กัดเฟือง,โรงงานผลิตชิ้นงาน,มิลลิ่ง,รับกลึงงาน,รับCNC,ขึ้นรูปทุกวัสดุ,ลูกกลิ้งอุตสาหกรรม,กัดCNC,ขึ้นรูปอลูมิเนียม

การหล่อโลหะ

E0B881E0B8B2E0B8A3E0B8ABE0B8A5E0B988E0B8ADE0B982E0B8A5E0B8ABE0B8B0.jpg

การหล่อโลหะ (Casting) หมายถึง การขึ้นรูปโลหะโดยนำโลหะมาหลอมเหลว แล้วเทหรือฉีดเข้าสู่แบบหล่อ (Mould) หรือแม่พิมพ์ (Die) เมื่อโลหะแข็งตัวก็จะได้ชิ้นงานที่มีรูปร่างตามต้องการ ประกอบด้วยการเทน้ำโลหะลงในแบบที่ทำไว้เป็นรูปร่างต่างๆแล้วปล่อยให้น้ำโลหะแข็งตัว จากนั้นจึงเอาชิ้นงานมาตกแต่งหรือนำไปผ่านขบวนการทางความร้อนจึงจะได้ชิ้นงานสำเร็จที่จะนำไปใช้งานต่อไป

ขนาดของชิ้นงานจะมีขนาดตั้งแต่น้ำหนักน้อยๆไปจนถึงขนาดใหญ่ที่มีน้ำหนักเป็นหลายตัน คุณสมบัติของชิ้นงานหล่อจะเกี่ยวพันกับธรรมชาติของโลหะที่จะนำมาหล่อ ชนิดแบบหล่อ ขนาด และรูปร่างของชิ้นงานหล่อ และอัตราการเย็นตัวเป็นอย่างมาก กระบวนการของการหล่อโลหะจะมีขั้นตอนการทำงานมากไปกว่าการเพิ่มความร้อนจนโลหะหลอมละลายแล้วนำโลหะไปเทลงแบบ โดยทั่วไปจะมีการเติมโลหะชนิดอื่นลงไปผสมและยังมีวิธีการขจัดสารมลทินแปลกปลอมเข้ามาเกี่ยวข้องอีกด้วย

การหล่อโลหะทำได้หลายวิธี เช่น

– หล่อในแบบหล่อทราย

– หล่อในแบบหล่อเซรามิกส์

– หล่อแบบฉีดหรือไดคาสท์

– หล่อเหวี่ยง

– หล่อต่อเนื่อง

ข้อพิจารณาในการเลือกวิธีหล่อโลหะมีหลายอย่าง เช่น

– ขนาดหรือความหนา

– รูปร่างและความซับซ้อนของงาน

– ราคา

– จำนวนที่ต้องการผลิต

– ความเรียบผิว และชนิดของโลหะกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับกรรมวิธีการหล่อโลหะ

การอบชุบโลหะ (Heat Treatment)

การชุบเคลือบผิว (Surface Treatment)

การเชื่อม (Welding & Joining)

E0B8ABE0B8A5E0B988E0B8ADE0B982E0B8A5E0B8ABE0B8B0.jpg

การทำงานหล่อมีขั้นตอนการทำที่แตกต่างกันไปตามชนิดของแบบหล่อ ในเบื้องต้นถ้าเป็นการทำโดยใช้หล่อทรายชื้นซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันทั่วไปในประเทศ เริ่มต้นจาก การออกแบบงานหล่อ และ การสร้างกระสวน ให้ได้รูปร่างตามที่ได้ออกแบบไว้ (ในขั้นตอนนี้งานหล่อทุกชนิดจะต้องมีกระสวน) ก่อนนำมาใช้ในการขึ้นรูปเป็นแบบทรายหล่อ เพื่อให้ได้แบบหล่อที่พร้อมที่จะเทหล่อ หากลักษณะงานที่ต้องการให้มีโพรงจะต้องมีขั้นตอนการทำใส้แบบเพิ่มมาอีก และก่อนเทจะต้องประกอบไส้แบบเข้ากับแบบทรายหล่อให้เรียบร้อย ในขั้นตอนการเตรียมน้ำโลหะ จะต้องมีการควบคุมคุณภาพของน้ำโลหะให้ได้ส่วนผสมตามที่กำหนดเสียก่อน จึงนำไปเทลงในแบบหล่อที่เตรียมไว้ เมื่อเทหล่อแล้ว ปล่อยให้งานหล่อแข็งตัวสมบูรณ์และเย็นตัวลงดีเสียก่อนจึงทำการลื้อแบบหล่อในขั้นตอนต่อไป งานหล่อที่ได้จะต้องผ่านการตรวจสอบเบื้องต้นด้วยตา และนำมาทำความสะอาด ตัดรูล้น หัวป้อน และหากต้องการตัดแต่งด้วยเครื่องมือกลจะต้องทำให้เสร็จเรียบร้อยเสียก่อน ที่จะจัดส่งให้กับลูกค้าต่อไป